- Sense of Nang Loeng: Community Art
- Sense of Nang Loeng: KINPLOEN...LEARNLOENG
- Sense of Nang Loeng: JUB JIB JAB JAI
- Sense of Nang Loeng: NANG LOENG MEMORY WALL
- Sense of Nang Loeng: SCENE OF LIGHT - SCENE OF LIFE
- Sense of Nang Loeng: Trok Khun Loeng
- Sense of Nang Loeng: Sartorial
- Bangkok Design Week 2023: Sense of Nang Loeng
- Community x Covid-19
- Buffalo Field Festival II
- [Artist-in-residence] “Buffalo Field Festival II,” Openspace & Mike Hornblow
- [Artist-in-residence] “Buffalo Field Festival I,” Openspace & Mike Hornblow
- Buffalo Field Festival I
- [Artist-in-residence] It’s my turn, Chiharu Shinoda and Mai Nakabayashi
- [Artist-in-residence] “Four Chances for Drama”: Short Chatri, Chiharu Shinoda and Mai Nakabayashi
- [Artist-in-residence] Woong Moong
- Goodbye Message from Tamarind
- [Artist-in-residence] Pattrica Lipatapunlop
- [Artist-in-residence] FaiFai
- Walk the Alleyways | เตร่-ตรอก
- E-lerng
- [Artist-in-residence] ชิฮารุ ชิโนดะ
- Lakhon Chatri | ละครชาตรี
- Community Art
Sartorial – ครูนางรำชาตรีแบบดั้งเดิมท่านสุดท้าย
นักออกแบบ : รัฐ เปลี่ยนสุข – Rush Pleansuk
ครูกัญญา ทิพโยสถ ครูนางรำชาตรีแบบดั้งเดิมท่านสุดท้ายซึ่งเป็นต้นตระกูลผู้นำละครชาตรีดัดแปลงจากการรำโนราห์มาพัฒนาการรำในกรุงเทพฯ จนเป็นที่นิยมและมีการนำไปแสดงในงานสมโภชน์ต่างๆ และในประเทศเพื่อนบ้าน แต่เมื่อรูปแบบความบันเทิงในสังคมไทยเปลี่ยนไปตามกาลเวลา พื้นที่ในการแสดงออกซึ่งศาสตร์และวัฒนธรรมไทยที่ลดน้อยลงจนเหลือแต่เพียงการจ้างรำบวงสรวง จึงทำให้วัฒนธรรมที่หาชมได้ยากนี้กำลังถูกลบเลือนไป
Sartorial หมายถึงการตัดชุดสูทที่ให้พอดีกับตัวผู้ใช้ เช่นเดียวกับการสวมใส่ที่พอดีกัน ครูผู้สอนการรำจึงจำเป็นที่จะต้องสอนให้ศิษย์มีท่าทางถูกต้องทุกกระบวนเสมือนการสวมเสื้อผ้าที่ได้ขนาด ไม่ใหญ่ ไม่เล็ก ไม่สั้น ไม่ยาวเกินไป
การจัดงานเทศกาลออกแบบกรุงเทพในครั้งนี้ได้ร่วมทำงานกับชุมชนนางเลิ้งได้นำเอารากฐานวัฒนธรรมของไทยมานำเสนอผ่านการออกแบบจากนักออกแบบ คุณรัฐ เปลี่ยนสุข และทีม Sumphat Gallery นักออกแบบวัฒนธรรมร่วมสมัยเพื่อสร้างพื้นที่และประสบการณ์ใหม่ผ่านท่วงท่าและเสียงดนตรี พร้อม Projection Mapping ท่ามกลางบรรยากาศชุมชนดั้งเดิมซึ่งเป็นแหล่งพำนักของศิลปินนักดนตรีไทยและนางรำ
นิทรรศการจัดขึ้นระหว่างวันที่ 4 – 12 กุมภาพันธ์ เข้าชมได้ตั้งแต่เวลา 10.00 – 20.00 น.
รอบการแสดง
วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 17.30 – 18.30
วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 17.30 – 18.30
วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 17.30 – 18.30
วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 17.30 – 18.30
การแสดงไม่มีค่าเข้าชม สามารถลงทะเบียนเข้าชมได้ที่หน้างาน The Umber Housepresso จำกัดไม่เกิน 20 ท่าน